ประกันอุบัติเหตุ MSIG PA คิดถึง

4775 Views  | 

ประกันอุบัติเหตุ MSIG PA คิดถึง

 

แผนประกันภัย : PA คิดถึงมาก (มีค่ารักษาพยาบาล)
มีเงินจ่ายก้อนแรก 10 เท่าของเงินเดือน และจ่ายเป็นเงินเดือนให้อีก 36 เดือน (ขยายมอเตอร์ไซด์ 50% ไม่เกิน 690,000 บาท)

 
 
 
ความคุ้มครองทุนประกันภัย (บาท)
แผน1แผน2แผน3แผน4แผน5
1. ผลประโยชน์การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา หรือทุพพลภาพถาวรสิ้น เชิง (อ.บ.1)
1.1 จากอุบัติเหตุทั่วไป (รวมการถูกฆาตกรรมและทำร้ายร่างกาย) 150,000 300,000500,000700,0001,000,000
1.2 จากการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์ 75,000150,000150,000150,000150,000
2. ผลประโยชน์การรักษาพยาบาล (ขยายความคุ้มครองการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์)15,000  30,00050,000 70,000100,000 
3. ผลประโยชน์รายเดือน กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ จำนวน 36 เดือน     
3.1 จากอุบัติเหตุทั่วไป (รวมการถูกฆาตกรรมและทำร้ายร่างกาย)15,000 30,000 50,000 70,000 100,000 
3.2 จากการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์ 7,500 15,000 1,5001,5000 1,500 
รวมผลประโยชน์ กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทั่วไป (รวมการถูกฆาตกรรมและทำร้ายร่างกาย) 690,0001,380,0002,300,0003,220,0004,600,000
รวมผลประโยชน์ กรณีเสียชีวิตจากการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์ 345,000690,000  690,000 690,000 690,000
 
เงื่อนไขการรับประกันภัย / คุณสมบัติผู้สมัคร :
  • ผู้ขอเอาประกันภัยที่มีอายุระหว่าง 20 - 60 ปีบริบูรณ์ (ต่ออายุได้ถึง 65 ปีบริบูรณ์ ตามเงื่อนไขของบริษัท)
  • ผู้ขอเอาประกันภัยมีชั้นอาชีพ 1-3
  • ผู้ขอเอาประกันภัยจะต้องมีถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทย
  • ผู้ขอเอาประกันภัยจะต้องไม่มีอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งผิดปกติ พิการ บกพร่อง หรือทุพพลภาพ
  • บริษัทขอสงวนสิทธิ์พิจารณารับประกันภัย
  • รายละเอียดของความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้น จะระบุในกรมธรรม์
 

แผนประกันภัย : PA คิดถึงจัมโบ้ (มีเงินชดเชยรายวันขณะพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน)
มีเงินจ่ายก้อนแรก 10 เท่าของเงินเดือน และจ่ายเป็นเงินเดือนให้อีก 36 เดือน
 (ขยายมอเตอร์ไซด์ 50% ไม่เกิน 690,000 บาท)

 
ความคุ้มครองทุนประกันภัย (บาท)
แผน1แผน2แผน3แผน4แผน5
1. ผลประโยชน์การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง (อ.บ.1)     
1.1 จากอุบัติเหตุทั่วไป (รวมการถูกฆาตกรรมและทำร้ายร่างกาย) 150,000 300,000500,000700,0001,000,000
1.2 จากการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์ 75,000150,000150,000150,000150,000
2. ผลประโยชน์การชดเชยรายได้รายวันระหว่างการเข้ารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุ (สูงสุด 365 วันต่ออุบัติเหตุ ขยายความคุ้มครองการขับขี่และโดยสารรถจักรยานต์) 700.-/วัน  1,500.-/วัน 2,000.-/วัน 2,500.-/วัน 3,000.-/วัน  
3. ผลประโยชน์รายเดือน กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ จำนวน 36 เดือน     
3.1 จากอุบัติเหตุทั่วไป (รวมการถูกฆาตกรรมและทำร้ายร่างกาย)15,000 30,000 50,000 70,000 100,000 
3.2 จากการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์ 7,500 15,000 1,5001,5000 1,500 
รวมผลประโยชน์ กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทั่วไป (รวมการถูกฆาตกรรมและทำร้ายร่างกาย) 690,0001,380,0002,300,0003,220,0004,600,000
รวมผลประโยชน์ กรณีเสียชีวิตจากการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์ 345,000690,000  690,000 690,000 690,000
เบี้ยประกันภัยรวมภาษีอากร (รายปี)ชั้นอาชีพ 1-21,5002,9004,2005,8008,000
ชั้นอาชีพ 32,3004,2006,6008,90012,500
 
 
เงื่อนไขการรับประกันภัย / คุณสมบัติผู้สมัคร :
  • ผู้ขอเอาประกันภัยที่มีอายุระหว่าง 20 - 60 ปีบริบูรณ์ (ต่ออายุได้ถึง 65 ปีบริบูรณ์ ตามเงื่อนไขของบริษัท)
  • ผู้ขอเอาประกันภัยมีชั้นอาชีพ 1-3
  • ผู้ขอเอาประกันภัยจะต้องมีถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทย
  • ผู้ขอเอาประกันภัยจะต้องไม่มีอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งผิดปกติ พิการ บกพร่อง หรือทุพพลภาพ
  • บริษัทขอสงวนสิทธิ์พิจารณารับประกันภัย
  • รายละเอียดของความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้น จะระบุในกรมธรรม์

 

อาชีพที่รับประกันภัย :

ชั้นอาชีพ 1 ลักษณะงานเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในระดับต่ำ

หมายถึง เจ้าของ ผู้ปฏิบัติงานด้านบริหาร หรืองานจัดการ งานเสมียนหรืองานขาย ในธุรกิจหรือการค้า ซึ่งส่วนใหญ่ทำงานประจำในสำนักงาน และรวมถึงการทำงานฝีมือที่ไม่ใช้เครื่องจักร เช่น เจ้าของ (ร้านขายยา , ร้านขายทองและอัญมณี , ร้านขายเฟอร์นิเจอร์ , ร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) กรรมการผู้จัดการ , ผู้จัดการสำนักงาน , เลขานุการ , พนักงานรับโทรศัพท์ , อาจารย์ , โฆษกวิทยุ , พนักงานขายของในห้างสรรพสินค้า

 

ชั้นอาชีพ 2 : ลักษณะงานเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในระดับปานกลาง

หมายถึง เจ้าของ ผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดการ หรือพนักงานในธุรกิจหรือการค้า ซึ่งทำงานนอกสำนักงานเป็นครั้งคราว หรือเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านอุตสาหกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอาชีพเฉพาะหรือกึ่งอาชีพเฉพาะ เช่น เจ้าของกิจการอู่ซ่อมรถยนต์ไม่ได้ลงมือปฏิบัติ , เจ้าของกิจการ (โรงภาพยนตร์ , โรงแรม) , เจ้าของไม่ได้ลงมือปฏิบัติ (สวน , นา , ไร่ , ฟาร์ม) ผู้จัดการฝ่ายขายนอกสำนักงาน , วิศวกรประจำโรงงาน , พนักงานบริการในโรงแรม , นายหน้า , ทนายความ , นักศึกษา, ช่างเสริมสวย

 

ชั้นอาชีพ 3 : ลักษณะงานเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในระดับสูง

หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานในด้านช่าง หรือกระบวนการผลิต ซึ่งส่วนใหญ่มีการใช้เครื่องกลหนัก ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการขนส่งที่มีการเดินทาง หรือทำงานนอกสำนักงานเป็นประจำ

 

**อาชีพที่ไม่รับประกันภัย

ลักษณะงานเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในระดับสูง เช่น คนงานในโรงงานอุตสาหกรรม , ช่างยนต์ , ช่างก่อสร้าง , พนักงานในเหมือง , กรรมกร , ชาวประมง , คนงานในแท่นขุดเจาะน้ำมัน , พนักงานทำความสะอาดกระจกภายนอกอาคารสูง , พนักงานติดตั้งไฟฟ้าแรงสูง , นักแข่งรถ , นักร้อง , นักแสดง , นักกีฬา , คนขับรถรับจ้าง , นักข่าว , พนักงานรักษาความปลอดภัย , นักการเมือง , คนขับรถมอเตอร์ไซค์รับจ้าง , อาสาสมัคร , พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินและนักบิน , คนขับรถแท็กซี่ รวมถึงอาชีพที่ต้องใช้แรงงาน , ใช้เครื่องจักรขนาดหนัก , คนงานที่ไม่มีทักษะเฉพาะ , ผู้มีอาชีพที่มีโอกาสเสี่ยงอันตราย

 

ข้อยกเว้นทั่วไป

การฆ่าตัวตาย , การทำร้ายร่างกายตัวเอง , การป่วยไข้หรือโรคภัยไข้เจ็บ , การแท้งลูก , การรักษาฟัน , อาหารเป็นพิษ , การปวดหลังอันมีสาเหตุมาจากหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท , การกระทำของผู้ได้รับความคุ้มครองขณะอยู่ภายใต้ฤทธิ์สุรา , สารเสพติดหรือยาเสพติด , การกระทำอาชญากรรม , ภัยสงคราม , การจลาจล , การนัดหยุดงาน , การทะเลาะวิวาท , การก่อความวุ่นวายลุกฮือต่อต้านรัฐบาล , การก่อการร้าย

 

This website uses cookies for best user experience, to find out more you can go to our Privacy Policy  and  Cookies Policy